มทร.ล้านนา ลงนามความร่วมมือ กับ บจก.หมูอินเตอร์ ลำพูน เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ร่วมลงนามความร่วมมือกับ นายณรงค์ ธรรมจารี ประธานบริษัท เอ็ม เอส พี อินเตอร์ฟู้ดส์ จำกัด (หมูอินเตอร์) โดยมีนายบรรจง วิพรหมชัย ประธานหอการค้าจังหวัดลำพูน คณะผู้บริหารของมหาวิทยาลัยฯ และ บจก.เอ็ม เอส พี อินเตอร์ฟู้ดส์ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ ห้องประชุมกาสะลอง มทร.ล้านนา โดยมีวัตถุประสงค์ในการร่วมกัน... >> อ่านต่อ
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและกิจการนักศึกษา นางปวีณา ทองปรอน รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าสำนักงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และพันจ่าเอกอำนาจ ใจคำฟู ผู้อำนวยการกองพัฒนานักศึกษา นำคณะบุคลากร นักกีฬา ผู้นำเชียร์ ทีม RMUTL STAR CONTEST 2023 และทีมวงดนตรี SEVEN SEGMENT มหาวิทย... >> อ่านต่อ
ข้อควรปฏิบัติการแต่งกายของบัณฑิต พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครั้งที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2565 วันซ้อมใหญ่และวันรับจริง (18-19 กุมภาพันธ์ 2567 ) >> อ่านต่อ
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 รองศาสตราจารย์ ดร.อุเทน คำน่าน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาระบบอย่างยั่งยืน ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรม “การประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของงานวิจัย” ระหว่างวันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ 2567 ณ โรงแรมสรีเวียงพิงค์ เชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรม “การประเมินผลลัพธ์และผลกระทบของงานวิจัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้พื้นฐานในการวัดผลลัพธ์ทางสังคม และการคำนวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน และเพื่อให้นักวิจัยนำความรู้ที่ได้ไปวิ... >> อ่านต่อ
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่ง พนักงานขับรถยนต์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา >> อ่านต่อ
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน) สาขาเชียงใหม่ หรือ CEA เชียงใหม่ (เดิม TCDC เชียงใหม่) ได้กำหนดการจัดกิจกรรม Creative Career Path 2024 สำหรับโครงการ miniTCDC Link จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการออกแบบและความสร้างสรรค์ที่สำคัญสำหรับการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ทั้ง 4 สาขา ได้แก่ กลุ่มรากฐานทางวัฒนธรรมสร้างสรรค์ (Creative Originals) กลุ่มคอนเทนต์และสื่อสร้างสรรค์ (Creative Content/ Media) กลุ่มบริการสร้างสรรค์ (Creative Services) และกลุ่มสินค้าสร้างสรรค์ ... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา