วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
|
|
1. เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความรับผิดชอบ ชื่อสัตย์ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติงานด้านการเกษตร รวมทั้งมีจิตสาธารณะ มีภาวะผู้นำ และทำงานเป็นทีมได้
|
---|---|---|
|
|
2. เพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความรู้ทางวิชาการและวิชาขีพ สามารถพัฒนาและใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสมทางการเกษตร คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ บูรณาการความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม
|
|
|
|
คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
|
|
การรับนักศึกษาต้องให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2551 และข้อบังคับ มทร.ล้านนาที่ประกาศเพิ่มเติม ดังนี้
|
|
|
1. รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ทุกแผนการเรียน หรือ เทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทุกสาขาวิชา
|
|
|
2. รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาเกษตรกรรมหรือเทียบเท่า และ/หรือสำเร็จการศึกษาระดับที่สูงกว่าเข้าศึกษาในภาคปกติ โดยใช้วิธีการเทียบโอนหน่วยกิตตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2551 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาที่ประกาศเพิ่มเติม
|
|
|
|
อาชีพที่สามารถประกอบได้
หลังสำเร็จการศึกษา
|
|
1. รับราชการ เป็นนักวิจัย นักวิซาการ หรือนักวิทยาศาสตร์ ในสถาบันการศึกษา สถาบันการวิจัยหรือในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกซน ที่เกี่ยวข้องกับทางการเกษตร
|
|
2. พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในธุรกิจบริษัทหรือสถานประกอบการทางการเกษตร หรือด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์และเคมีภัณฑ์เกษตรที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายการขาย ฝ่ายบริการวิชาการและส่งเสริมการขาย เป็นต้น
|
|
|
|
3. พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในภาคอุตสาหกรรมเกษตรที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายควบคุมการผลิต ฝ่ายจัดหา/จัดซื้อวัตถุดิบ ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายประกันคุณภาพ ฝ่ายบำบัดและงานสิ่งแวดล้อม ฝ่ายตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เป็นต้น
|
|
|
4. ประกอบอาชีพส่วนตัวอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ธุรกิจการเกษตร ธุรกิจด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์และเคมีภัณฑ์เกษตร เป็นต้น
|
|
|
5. ศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นทางด้านเกษตรศาสตร์หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
|
|
|
|
|
|
ศึกษาปกติ 4 ปี ไม่เกิน 8 ปี (132 หน่วยกิต)
|
|
|
|
|
|
พืชศาสตร์ , สัตวศาสตร์ , ประมง
|
|
|
|
ความเป็นสากลของหลักสูตร
|
|
หลักสูตรภาษาไทย
|
|
|
|
ค่าใช้จ่าย
|
|
ตลอดหลักสูตรประมาณ 95,000 บาท (เทอมละ 12,000 บาท)
|
|
|
|
พื้นที่การเรียนการสอน
|
|
มทร.ล้านนา น่าน , พิษณุโลก , ลำปาง
|
|
|
|
|
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมรชัย ล้อทองคำ ประธานหลักสูตร |
วิชาเอกพืชศาสตร์ |
วิชาเอกสัตวศาสตร์ |
วิชาเอกเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
---|---|---|
ผศ.ดร.อภิรยา เทพสุคนธ์ หัวหน้าวิชาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนี บัวระภา หัวหน้าวิชาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมรชัย ล้อทองคำ หัวหน้าวิชาเอก / หัวหน้าหลักสูตร |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ทิมขำ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ผศ.สุธาทิพย์ ไชยวงศ์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์ปัทมา จันทร์เรือง ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์กฤษณธร สินตะละ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์เชาวลีย์ ใจสุข ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
วิชาเอกพืชศาสตร์ |
วิชาเอกสัตวศาสตร์ |
วิชาเอกเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
---|---|---|
อาจารย์พรวิภา สะนะวงศ์ หัวหน้าวิชาเอก |
อาจารย์ณวรรณพร จิรารัตน์ หัวหน้าวิชาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารวี เลิกสายเพ็ง หัวหน้าวิชาเอก / หัวหน้าหลักสูตร |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ เกียรติดำรงค์กุล ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ดร.อุษณีย์ภรณ์ สร้อยเพ็ชร์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์ประวัติ ปรางสุรางค์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ดร.สุจริตพรรณ บุญมี ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ดร.อัษฎาวุธ สนั่นนาม ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ผศ.ดร.รุ่งระวี ทองดอนเอ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
วิชาเอกพืชศาสตร์ |
วิชาเอกสัตวศาสตร์ |
วิชาเอกเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ |
---|---|---|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุลวิชญ์ พานิชกุล หัวหน้าวิชาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยมาสฐ์ ตัณฑ์เจริญรัตน์ หัวหน้าวิชาเอก |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพิมล จุลพันธ์ หัวหน้าวิชาเอก |
รองศาสตราจารย์สุมิตรา สุปินราช ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิรันดร กองเงิน ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์สมเกียรติ ตันตา ผู้รับผิดชอบหลักสูตร / หัวหน้าหลักสูตร |
อาจารย์เมทินี นาคดี ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวุธ ชัยเนตร ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
อาจารย์ เรืองพันธุ์ ทรัพย์มี ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา